หน้าหลัก ค้นหา ติดต่อ สมุดโทรศัพท์ การเรียน/การสอน เหตุการณ์ แผนที่เว็บ Thai/Eng
MCU

หน้าหลัก » พระมหาวสันต์ ฐานวโร (ใจกําเนิด)
 
เข้าชม : ๒๐๐๑๓ ครั้ง
ผลการให้คําปรึกษาแบบกลุ่มด้วยวิธีเชิงพุทธเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภายใต้ โครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ
ชื่อผู้วิจัย : พระมหาวสันต์ ฐานวโร (ใจกําเนิด) ข้อมูลวันที่ : ๑๗/๐๙/๒๐๑๓
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ :
  พระเอกภัทร อภิฉนฺโท,ผศ.ดร.พธ.บ(การสอนสังคม),พธ.บ(ภาษาอังกฤษ)
  ผศ.ดร. สิริวัฒน ศรีเครือดง, พธ.บ., M.A., Ph.D. (Psychology)
  ผศ.สาระ มุขด
วันสำเร็จการศึกษา : ๒๕๕๖
 
บทคัดย่อ

 

บทคัดย

การวิจัยครั้งนี้ เปนงานวิจัยเชิง กึ่ง ทดลอง มีวัตถุประสงค ๑.) ศึกษาระดับและ

เปรียบเทียบความสุขของผูวย ก่อนและหลัง การใหคําปรึกษาแบบกลุม ดวยวิธีเชิงพุทธ ภายใต

โครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ ๒.) เพื่ อศึกษา ผลการปรึกษาแบบกลุ มดวยวิธีเชิงพุทธ เพื่ อ พัฒนา

คุณภาพชีวิตของผูวยโครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชศึกษาวิจัยครั้งนี้

คือ ผูป่วยในคลินิกธรรมะรักษาใจ โครงการมิตรภาพบําบัด ในคณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล

มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร ประจําป ๒๕๕๕ ที่เป็นผูป่วยเรื้อรัง โดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง

และสมัครใจ จํานวน ๑๐ คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยแบงเป็น ๒ สวน คือแบบวัดความสุขของคน

ไทย ที่สรางโดยกรมสุขภาพจิต จํานวน ๑๕ ขอคําถาม และแผนการใหคําปรึกษาแบบกลุมดวยวิธี เชิง

พุทธ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ผูวิจัยสร้างขึ้นจากการคนควา ตํารา วารสาร โดยเนนวิธีการใหการ

ปรึกษาแบบกลุ มดวยวิธี เชิงพุทธ สถิติที่ ใชในการวิเคราะหอมูล ใชสถิติพรรณนาโดยใชอยละ

าเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่ออธิบายขอมูลทั่วไป ใชสถิติอางอิงวิเคราะห เปรียบเทียบการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตขอ งผู วย โครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ ก อนและหลังการเขาร วมการให

คําปรึกษาแบบกลุมดวยวิธีเชิงพุทธ โดยใชสถิติ Paired Samples Test

ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้

เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยโดยใชแบบวัดความสุขของคนไทยของกรมสุขภาพจิต กอน

และหลังการใหการปรึกษาแบ บกลุ มดวยวิธีเชิงพุทธเพื่ อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู วย  ภายใต

โครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ  พบวา มีคาเฉลี่ยสูงขึ้น ที่ระดับนัยสําคัญ คือ ๐.๐๑ และ ๐.๐๕

สําหรับ ผลการปรึกษาแบบกลุ มดวยวิธีเชิงพุทธ เพื่ อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู วย

โครงการคลินิกธรรมะรักษาใจ พบว

านการพัฒนากาย ทํากายบริหาร เพื่อใหรูจักใชอายตนะและอวัยวะทั้งหลาย มีมือ เท

ปาก ตา ทั้งกาย วาจา ความสัมพันธระหวางกายกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพอยางถูกตองดีงามในทาง

ที่เปนคุณประโยชนที่แทจริง ถือเอาประโยชนจากธรรมชาติในลักษณะที่ถูกตอง

านการพัฒนา ศี ล คือ สมาทานศีล ๕ เปนการเสริมสราง ใหมีความสัมพันธที่เกื้อกูลกับ

เพื่อนมนุษยในสังคมอยางมีระเบียบ มีระบบ และมีวิธีการแสดงออกที่เหมาะสม มีวินัย ตามแนวทางที่

ถูกตองตามหลักพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูวย

านการพัฒนา จิต คือ ใหมีการเจริญอนุสสติ และกายานุสสติ ใหผูวยดูสื่อเหตุเกิดทุกข

เรื่องกรรม เปนตน และปฏิจจสมุปบาทฝายเกิดในความดับ ทุกสิ่งมีเหตุจึงมีผล  คือความทุกขมีเหตุมา

จากกรรมที่ไมดี ฉะนั้น เมื่อปรารถนาความสุขก็ตอง ทํากรรมดีซึ่งเปนเหตุแหงความสุข ทั้งนี้เพื่อ การ

พัฒนาคุณสมบัติของจิต ฝกอบรมเสริมสรางจิตใหพรั่งพรอมสมบูรณ

านการพัฒนา ปญญา คือ การพัฒนาความรู ความเขาใจเริ่มตั้งแต่การเรียนรูอยูกับ

จจุบันขณะ การรับรูเรียนรูอยางถูกตองตามความเปนจริง ไมบิดเบือนหรือเอนเอียงดวยอคติ ความรู

ความเขาใจในธรรมชาติความเจ็บป่วย และปัญญาที่รูเท่าทันธรรมดาของสังขาร คือโลก และชีวิตถึง

ขั้นที่ทําใหจิตใจเปนอิสระหลุดพนจากความทุกขโดยสมบูรณ

ดาวน์โหลด

 
 
สงวนลิขสิทธ์โดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ 
พัฒนาและดูแลโดย : webmaster@mcu.ac.th 
ปรับปรุงครั้งล่าสุดวันพฤหัสบดี ที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕